In Thailand

รองผู้ว่าฯศรีสะเกษเปิดวัตกรรมเกษตรทิพย์ฟาร์



ศรีสะเกษ-ที่วิสาหกิจชุมซนศูนย์ข้าวชุมชนบ้นอุ่มแสงเกษตรทิพย์ รองผู้ว่าฯศรีสะเกษเปิดวัตกรรมเกษตรทิพย์ฟาร์ต่อยอดจากSmart Community สู่การเป็นต้นแบบ Smart Farm ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน  2565 ที่วิสาหกิจชุมซนศูนย์ข้าวชุมชนบ้นอุ่มแสงเกษตรทิพย์ ตำบลคู่ อำเภอราษีไตล จังหวัดศรีสะเกษ  นายอนุรัตน์  ธรรมประจำจิต  รองผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ และนางวราภรณ์ โอสถาพันธุ์ กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส บริษัทสยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จำกัด ได้ร่วมกันเป็นประธานเปิดวัตกรรมเกษตรทิพย์ฟาร์ต่อยอดจากSmart Community สู่การเป็นต้นแบบ Smart Farm ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  โดยมีนายบุญมี  สุรโคตร ประธานวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสงเกษตรทิพย์  นายชัยยงค์  เมธาสุรมิตร  นายอำเภอราษีไศล  และหัวหน้าส่วนราชการจังหวัดศรีสะเกษและอำเภอราษีไศล  นำเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่อำเภอราษีไศล  ร่วกิจกรรมเป็นจำนวนมาก ภายในงานมีกิจกรรมประกอบไปด้วย  การสาธิตและถ่ายทอดองค์ความรู้การบริหารจัดการฟาร์ม แบบครบวงจรให้เป็นแหล่งสร้างอาชีพสู่ชุมชน  ด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร และนวัตกรรมการเกษตรในรูปแบบ smart Farming สู่เกษตรกร ทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรอินทรีย์ในเขตอำเภอราษีไศล  ได้มีความรู้ความเข้าใจและสามรถนำไปประกอบาอชีเกษตรกรรมได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ  เพื่อเป็นแหล่งสร้างอาชีพให้แก่ลูกหลานและคนในชุมชนอย่างยั่งยืน เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันในกาคการเกษตรไทย  เพิ่มรายได้สามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัวต่อไป

นางวราภรณ์ โอสถาพันธุ์ กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโสบริษัทสยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่นจำกัด กล่าวว่า การเปิดตัว"เกษตรทิพย์ฟาร์ม" โครงการชุมชนพลังเกษตรสร้างสุขสยามดูโบค้า ต้องการให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีรายได้เพิ่มด้วยการลดตันทุนและเพิ่มผลผลิตเป็น "ชุมชนตันแบบ" ทางการเกษตรที่มีความเข้มแข็งพึ่งพาดนเองได้ และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่กลุ่มเกษตรกรหรือผู้สนใจได้ศึกษาเรียนรู้วิถีการทำเกษตรเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยในปี 2554 สยามดูโบด้ได้เริ่มพัฒนาร่วมกับวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสง (เกษจรทิพย์) จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีจุดเด่นด้านการเพาะปลูกข้าวแบบอินทรีย์ 100% และได้รับการรับรองมาตรฐานทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยสยามดูโบต้าได้ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันอย่างเข้มแข็งเพื่อให้สามารถบริหารจัดการพื้นที่เพาะปลูก พร้อมนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี เครื่องจักรกลการเกษตร และนวัดกรรมการเกษตร รวมถึงโซลูซันต่างง เข้าไปพัฒนาโดยเฉพาะการนำระบบ  KAS หรือเกษตรครบวงจร (KUBOTA (Agri) Solutions) ที่ทำให้เกษตรกรพบว่า ช่วยลดต้นทุน ผลผลิดเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ ลดความเสี่ยงที่เกิดจากความผันแปรของภัยธรรมชาติ และยังส่งผลให้รายได้มากขึ้น ได้เปิดเป็น ศูนย์เรียนรู้ชุมชนพลังเกษตรสร้างสุขสยามคูโบต้า - เกษตรทิพย์ ในปี 2557 ทั้งนี้ เส้นทางของการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนพลังเกษตรสร้างสุขสยามดูโบต้า จากระยะเริ่มต้นของการพัฒนากิจกรรมต่อเนื่องกับกลุ่มฯ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการฟาร์มและการทำเกษตรต้นแบบ มาสู่ระยะการเสริมความแข็งแกร่ง โดยนำเทคโนโลยีและนวัดกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพื่อให้เกิดการทำธุรกิจชุมชนดันแบบ และ สุดท้ายเป็นระยะสร้างความยั่งยืนในการพัฒนา SKCE FARM ในระดับภูมิกาคำหรับการจัดตั้งเกษตรทิพย์ฟาร์มในวันนี้ จึงเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงแรงผลักดันและความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ของ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนพลังเกษตรสร้างสุขสยามดูโบต้า - เกษตรทิพย์ สู่การเป็นฟาร์มนวัดกรรมเกษตรสมัยใหม่สู่ความยั่งยืน ตามแผนการพัฒนาของสยามดูโบตั และยังดอบโจทยันโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมของสยามดูโบตั ในการมุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งของการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทย ตามแนวคิด เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals ของสหประชาชาติ ทั้งนี้สยามดูโบต้า พร้อมอยู่เคียงข้าง คอยสนับสนุนและเป็นที่ปรึกษาตลอดจนวางแผนการดำเนินงานร่วมกับกลุ่มฯ ในการพัฒนา เกษครทิพย์ฟาร์มอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาเกษตรกรสู่การเป็น Smar Farmer ยุด 5.0 เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคการเกษตรไทย

นายบุญมี สุระโคตร ประธานวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสงเกษตรทิพย์ กล่าวว่าเกษตรทิพย์ฟาร์ม คือฟาร์มนวัดกรรมเกษตรสมัยใหม่สู่ความยั่งยืนที่เกิดจากความตั้งใจที่จะผลักดันการทำ  เกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่ทำเกษตรสมัยใหม่ที่ต่อยอดจาก Smart Community สู่การเป็นตันแบบ Smart Farm เพื่อเป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ และการบริหารจัดการฟาร์มด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร และนวัดกรรมการเกษตรในรูปแบบ Smart Farming ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือภายใต้แนวคิด Modern Organic Farm ที่ออกแบบและพัฒนาฟาร์มโดย บริษัท เกษตรอินโน จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง เอสซีจี สยามดูโบต้า และคูโบดำคอร์ปอเรชั่น ประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้เพื่อเป็นแหล่งสร้างอาชีพให้แก่คนในชุมชนเกิดความยั่งยืน รวมถึงลูกหลานคนรุ่นใหม่ของชุมชนกลับมาสานต่ออาชีพเกษตรกรรองรับแรงงานคืนถิ่น ในขณะเดียวกันก็ยังผสานกับอัดลักษณ์ท่างวัฒธรรมและวิถีชีวิตของผู้คนในชุมชนเอาไว้ด้วยกันอย่างกลมกลืน ทั้งโดยพื้นที่ภายในฟาร์มมีทั้งหมด 11 ไร่ แบ่งออกเป็น 6โซน ได้แก่ 1. โซน Green House หรือโรงเรือนอัจฉริยะ สามารถปลูกพืชและควบคุมผลผลิตให้ได้คุณภาพ อีกทั้ง ยังลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติดลอดทั้งปี ภายในโช่นมีระบบเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้น และความเข้มแสง รวมทั้งมีระบบการให้น้ำแบบเรียลไทม์ผ่านแอปพลิเคซัน พืซที่ปลูก ได้แก่ เมล่อน 2. โซนไม้ผลมูลค่าสูง เป็นการสร้างทางเลือกสำหรับการเพาะปลูกพืชและเป็นแหล่งสร้างรายได้ระยะยาว  สำหรับพืชที่ปลูกภายในฟาร์ม ได้แก่ ทุเรียน อะโวคาโด โกโก้ นอกจากนี้ยังปลูกกลัวยน้ำว้า เพื่อเป็นแนวกันลม พร้อมทั้งนำนวัดกรรมระบบให้น้ำอัจฉริยะเข้ามาใช้ในพื้นที่ด้วย 3. โชนพืชสร้างรายได้เร็ว แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ พืชผักไม้เลื้อยและพืชแซมอื่นๆ อาทิ ถั่วฝักยาว บวบฟักเขียว และผักใบและผักสวนครัว ได้แก่ กลุ่มผักสลัด (กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเดอร์เฮด) รวมถึงหอมแดงและกระเทียมซึ่งเป็นพืชที่ได้รับมาตรฐาน G ทั้งนี้ยังได้นำเครื่องยกร่อง และรถปลูกผักมาไซ้ทดแทนแรงาน รวมทั้งมีการนำนวัตกรรมการให้น้ำอัจฉริยะมาดวบคุมระบบให้น้ำภายในแปลงด้วยโซนโซล่าเซลล์ พื้นฐานการทำเกษตรของกลุ่มเป็นการทำเกษตรอินทรีย์

​​​​​​​

โดยทางกลุ่มมุ่งที่จะเป็นการเกษตรแบบ Green Energy จึงได้ติดตั้งโซล่าซลล์แบบกระแสดรง ช่วยลดดันทุนจากค่ไฟฟ้า  ทั้งจากระบบการให้น้ำ และไฟส่องสว่าง5. โซนแปลงข้าวตัวอย่าง มีการนำเครื่องจักรกลการเกษตรสยามดูโบต้ามาใช้ควบคุมคุณภาพและปริมาณตลอดกระบวนการเพาะปลูก ตั้งแต่การใช้แทรกเดอร์ในการเดรียมดิน การใช้รถดำนาในขั้นตอนปักดำ การใช้โตรนเพื่อการเกษตรในขั้นตอนของการดูแลรักษา และใช้รถเกี่ยวนวดข้าวสำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิต นอกจากนี้ยังสร้างรายได้พิ่มด้วยการอัดฟางสำหรับจำ  6. โซนพืชสมุนไพร ในปัจจุบันพืชสมุนไพรจัดเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่ตลาดมีความต้องการในปริมาณสูง ทางกลุ่มเล็งเห็นโอกาส่ในการสร้างอาชีพทางเลือก จึงได้จัดทำแปลงสมุนไพรในฟาร์ม ต่อยอดการแปรรูปเป็นอาหารและยา สมุนไพรที่ปลูก ได้แก่ ข่า ตะไครั กระชายดำ กระชายขาว มะนาว มะกรูด และฟัาทะลายโจรสำหรับแผนการดำเนินงานในอนาคต ทางกลุ่มจะเพิ่มโซนโฮมสเตย์ และโซนคาเฟ รวมทั้งมีการนำเทคโนโลยี  และนวัดกรรมเกษตร ที่เหมาะสมมาดิดตั้งเพิ่มเติม เพื่อต่อยอดการท่องเที่ยวเชิงเกษดรรองรับนักท่องเที่ยว และผู้ที่มีความสนใจการทำเกษตร รวมถึงจัดทำแผนหลักสูตรการเรียนรู้ให้มีความหลากหลายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มด้วยเกษตรทิพย์ฟาร์ม พร้อมเดินหน้าเป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยี เครื่องจักรกลการเกษตร และนวัดกรรมการเกษตรในรูปแบบ Smart Farming สู่เกษตรกรและผู้สนใจทั่วประเทศแล้ววันนี้ ณ วิสาหกิจชุมซนศูนย์ข้าวชุมชนบ้นอุ่มแสง (เกษตรทิพย์) ตำบลคู่ อำเภอราษีไตล จังหวัดศรีสะเกษ เปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 17.00 น. ผู้สนใจเยี่ยมชม สามารถติดต่อ  สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook : Boonmee Organic Farm เกษตรอินทรีย์ลุงบุญมี   โทรศัพท์ : 086 322 8953

ข่าว / บุญทัน  ธุศรีวรรณ   ศรีสะเกษ

ภาพ / ปฐมพงษ์  ธุศรีวรรณ